แหล่งโหลดคู่มือ
รวบรวมคู่มือต่างๆ เพื่อนำไปใช้งาน สนใจสามารถคลิกดาวน์โหลดตามหัวข้อ ที่ท่านต้องการ
1.คู่มือการติดตั้ง ClearOS 5.x + Smile Authentication
2.สคริปการติดตั้ง NostAuthentication ด้วย Ubuntu server 10.04 (64bit)
3.แหล่งรวบรวม e-book ubuntu
4. การรีเซ็ตรหัสผ่าน admin ของเครื่อง Mac
5.คู่มือ DIA ใช้แทนโปรแกรม Visio
วิธีติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ Ubuntu 9.04 สำหรับคนไม่เคยใช้ลินุกซ์
วันนี้เรามาศึกษา วิธีติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ Ubuntu 9.04 สำหรับคนไม่เคยใช้ลินุกซ์ ซึ่งสามารถนำ
ไปประยุกต์ใช้กับเวอร์ชั่นอื่นๆด้วย
- เข้าเว็บ http://www.ubuntu.com/download/server/download จะได้ดังรูปที่ 1
รูปที่ 1
2. เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการ ดาวน์โหลดและคัดลอกลงแผ่นซีดีหรือ ดีวีดี
3. ตั้งไบออสให้บูตด้วยแผ่นซีดี
4. ใส่แผ่นซีดีในซีดีรอมไดรฟ์แล้วทำการบูตเครื่อง เพื่อติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ Ubuntu 9.10
จะปรากฏหน้าจอดัง
รูปที่ 2 เลือก Install Ubuntu Server กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 3
รูปที่ 2
5. เลือกภาษาที่ติดตั้งเป็น English กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 4
รูปที่ 3
6. กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 5
รูปที่ 4
7. กด Enter ผ่านเลยหรือถ้าจะเปลี่ยนก็เลือก other ครับ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 6
รูปที่ 5
8. เป็นการ Detect Keyboarb layout กด Enter ผ่านเลยจะได้ไม่เสียเวลา
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 7
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 7
รูปที่ 6
9. เลือก keyboard เป็น USA กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 8
รูปที่ 7
10. keyboard layout: เลือก USA กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 9
รูปที่ 8
11. ระบบจะทำการ Detect Hardware รอสักครู่ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่10
รูปที่ 9
12. เลือก Primary network interface ซึ่งขึ้นอยู่จำนวนการ์ดแลนที่อยู่ในเครื่องครับ
โดยทั่วไปการ์ดแลนใบแรกจะเป็น eth0 เป็นการ์ดแลนเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต กด Enter
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่11ถ้าปรากฏหน้าจอให้เซ็ดอัพไอพี ก็เลือก DHCP
โดยทั่วไปการ์ดแลนใบแรกจะเป็น eth0 เป็นการ์ดแลนเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต กด Enter
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่11ถ้าปรากฏหน้าจอให้เซ็ดอัพไอพี ก็เลือก DHCP
รูปที่ 10
13. เราสามารถตั้งชื่อHostname ตามที่ต้องการครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 12
รูปที่ 11
14. เลือก Time Zone กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 13
รูปที่ 12
15. เริ่มเข้าสู่การ Format Hard disk จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 14
รูปที่ 13
ดึกแล้วมาต่อวันพรุ่งนี้นะครับ
รูปที่ 15
16. กำหนดให้แบ่ง Partition Hard disk เลือกตามระบบแนะนำ คือ Guided - use entire
disk and set up LVM
หากท่านเชี่ยวชาญสามารถกำหนด Partitin เองได้ครับ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 15
รูปที่ 14
17. ระบบก็จะแจ้งให้ทราบถึง Hard disk ในเครื่องของเรา กด Enter ผ่านไป
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 16
18. ระบบแจ้ง Hard disk และถามว่า จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ให้ตอบ Yes
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 17
รูปที่ 16จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 17
20. กำลังตรวจหา Partition ............ เมื่อเสร็จ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 19
รูปที่ 18
21. ระบบแบ่ง Partition ให้เราโดยอัตโนมัติ และถามว่า จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่
ให้ตอบ Yes จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 20
รูปที่ 19ให้ตอบ Yes จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 20
22. กำลัง Format Hard disk ....................... รอสักครู่ เมื่อเสร็จก็จะติดตั้งระบบขั้นพื้นฐาน
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 21
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 21
รูปที่ 20
23. ติดตั้งระบบพื้นฐาน.............. เมื่อเสร็จก็จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 22
รูปที่ 21
25. ใส่ชื่อ login ครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 24
รูปที่ 23
26. ป้อนรหัสผ่าน ครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 25
รูปที่ 24
27. ป้อนรหัสผ่านอีกครั้ง ครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 26
รูปที่ 25
28. ระบบจะแจ้งว่ารหัสผ่านที่เราป้อนง่ายต่อการโดน Hack ครับ กด Enter จะปรากฏ
หน้าจอดังรูปที่ 27
หน้าจอดังรูปที่ 27
รูปที่ 26
29. ระบบจะถาม ให้ตั้งค่าความปลอดภัยให้กับ Home directory หรือไม่ ตอบ No ครับ
ศูนย์ลิงค์เพื่อนบ้าน
รวบรวมลิงค์ที่เป็นประโยชน์ครับ
1. ทิบและเทคนิคต่างๆจาก Linuxthai.org : เชิญคลิกที่นี่ครับ -> Tip & Technics
2. วิธีติดตั้ง Oracle Database 11g บน Linux (Part 1/2) :
ขั้นตอนที่ต้องเตรียมก่อน Install Software : เชิญคลิกที่นี่ครับ
3. การใช้งาน Remote Desktop บน Windows Server 2008 : เชิญคลิกที่นี่ครับ
4. พื้นฐานเครือข่าย Computer (Basic IP network) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
5. แหล่งรวมโปรแกรม Open Source : เชิญคลิกที่นี่ครับ
6. 10 โปรแกรม for Mac : เชิญคลิกที่นี่ครับ
7. วีดีโอการใช้ Mac : เชิญคลิกที่นี่ครับ
8. เริ่มทำเว็บไซต์ด้วย XAMPP : เชิญคลิกที่นี่ครับ
9. คู่มือโปรแกรม Open Source ต่างๆ เช่น OpenOffice : เชิญคลิกที่นี่ครับ
10. คู่มือการจัดการ Google App : เชิญคลิกที่นี่ครับ
11. ขั้นตอนการเปลี่ยน Drum ของ Printer : เชิญคลิกที่นี่ครับ
12. ขั้นตอนการเปลี่ยน Drum ของ Printer Brother : เชิญคลิกที่นี่ครับ
13. ระบบบาร์โค๊ด(Barcode System) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
14. รูแบบบาร์โค๊ด(Barcode ) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
15. ระบบการจัดการสโตร์(WMS ) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
16. รีวิวระบบบาร์โค้ด : เชิญคลิกที่นี่ครับ
17. การแชร์ไฟล์บน Virtualbox ระหว่าง MAC กับ Windows : เชิญคลิกที่นี่ครับ
18. ความรู้เรื่อง Printer : เชิญคลิกที่นี่ครับ
19. ความรู้เรื่อง Label Printer : เชิญคลิกที่นี่ครับ
20. การตั้งเก็บไฟล์อัตโนมัติสำหรับโปรแกรม AutoCAD 2010 : เชิญคลิกที่นี่ครับ
21. วิธีการกำหนดค่า Outlook 2010 สำหรับ Gmail และบัญชี Google Apps : เชิญคลิกที่นี่ครับ
22. เทคนิคต่างๆสำหรับเครื่องเมค : เชิญคลิกที่นี่ครับ
23. การเซ็ต VLAN อย่างง่ายๆ : เชิญคลิกที่นี่ครับ
24. ความรู้เรื่อง VLAN : เชิญคลิกที่นี่ครับ
25. ความรู้เรื่อง VLAN Secnarion : เชิญคลิกที่นี่ครับ
26. ความรู้เรื่อง VLAN Trunk>>Infranstructure : เชิญคลิกที่นี่ครับ
27. ความรู้เรื่องการเซ็ต VLAN ของ HP ProCurve 2810 Switch: เชิญคลิกที่นี่ครับ
28. ความรู้เรื่องระบบเน็ตเวิกส์: เชิญคลิกที่นี่ครับ
การเข้าจัดการ ClearOS 5.x จากภายนอก
วันนี้เรามาดูการจัดการ ClearOS 5.x จากภายนอกกัน
เมื่อเราได้ติดตั้งเครื่อง Server ที่สำนักงานของลูกค้า หากเกิดปัญหาขึ้นมา เราสามารถตรวจสอบ
เบื้องต้นด้วยการตรวจสอบทางไกลหรือ Remote เข้าไปดูได้ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างรวดเร็ว
ซึ่งมีขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้
1. เรามาเซ็ตอัพ ClearOS 5.x เพื่อการรองรับการ Remote จากภายนอก
1.1 ล็อกอินเข้าระบบ ดังรูปที่ 1
รูปที่1
1.2 ไปแถบเมนู Network >Firewall > Incoming เพิ่มตามที่ต้องการ เช่นผมต้องการ
จัดการผ่านหน้าเว็บและ SSH
ผมก็พิมพ์ชื่อ princess ในช่อง NickName /Port
เลือก TCP
พิมพ์ 443
คลิกที่ปุ่ม Add
เราก็ได้แล้ว สำหรับที่จะเข้ามาจัดการจากภายนอก ดังรูปที่ 2 ส่วนที่เหลือก็ทำเช่นเดี่ยวกันครับ
รูปที่ 2
2.ทำ Forward Port และ Dynamic Host ตามบทความที่ผ่านมาครับ
3.ณ บัดนี้เราสามารถเข้าจัดการจากภายนอกได้แล้วครับ อันนี้ผมทำไว้เพื่อกันลืมครับ
ผมจะลำดับรูป ตามเมนูของ ClearOS 5.x ตั้งแต่ต้นจนจบ ซึ่งใช้งานจริงครับ
เชิญติดตามครับ
3.1 เข้าระบบ
3.4 DHCP
3.5 Local DNS Server
3.6 Firewall > Advance
เมื่อเราได้ติดตั้งเครื่อง Server ที่สำนักงานของลูกค้า หากเกิดปัญหาขึ้นมา เราสามารถตรวจสอบ
เบื้องต้นด้วยการตรวจสอบทางไกลหรือ Remote เข้าไปดูได้ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างรวดเร็ว
ซึ่งมีขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้
1. เรามาเซ็ตอัพ ClearOS 5.x เพื่อการรองรับการ Remote จากภายนอก
1.1 ล็อกอินเข้าระบบ ดังรูปที่ 1
1.2 ไปแถบเมนู Network >Firewall > Incoming เพิ่มตามที่ต้องการ เช่นผมต้องการ
จัดการผ่านหน้าเว็บและ SSH
ผมก็พิมพ์ชื่อ princess ในช่อง NickName /Port
เลือก TCP
พิมพ์ 443
คลิกที่ปุ่ม Add
เราก็ได้แล้ว สำหรับที่จะเข้ามาจัดการจากภายนอก ดังรูปที่ 2 ส่วนที่เหลือก็ทำเช่นเดี่ยวกันครับ
รูปที่ 2
2.ทำ Forward Port และ Dynamic Host ตามบทความที่ผ่านมาครับ
3.ณ บัดนี้เราสามารถเข้าจัดการจากภายนอกได้แล้วครับ อันนี้ผมทำไว้เพื่อกันลืมครับ
ผมจะลำดับรูป ตามเมนูของ ClearOS 5.x ตั้งแต่ต้นจนจบ ซึ่งใช้งานจริงครับ
เชิญติดตามครับ
3.1 เข้าระบบ
3.2 ค่าไอพีที่ตั้ง
3.3 Multiwan
3.5 Local DNS Server
3.6 Firewall > Advance
3.7 Firewall > Groups
3.8 Firewall > Incoming
3.9 Firewall > Outgoing
3.10 Firewall > Portfowarding
3.11 Firewall > Custom
3.12 Gateway > Bandwidth And Qos >Bandwidth
3.13 Protocal Filter > Protocal filter Configuration
3.14 Proxy and Filtering > Access Control
3.15 Web Proxy
3.16 Server> web > web server
3.17 Database > Mysql
จบขั้นตอนการคอนฟิกค่าต่างๆของ ClearOS 5.2 สามารถนำไปประยุกต์ให้ตรงกับงานของท่าน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
แหล่งโหลดคู่มือ
รวบรวมคู่มือต่างๆ เพื่อนำไปใช้งาน สนใจสามารถคลิกดาวน์โหลดตามหัวข้อ ที่ท่านต้องการ
1.คู่มือการติดตั้ง ClearOS 5.x + Smile Authentication
2.สคริปการติดตั้ง NostAuthentication ด้วย Ubuntu server 10.04 (64bit)
3.แหล่งรวบรวม e-book ubuntu
4. การรีเซ็ตรหัสผ่าน admin ของเครื่อง Mac
5.คู่มือ DIA ใช้แทนโปรแกรม Visio
วิธีติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ Ubuntu 9.04 สำหรับคนไม่เคยใช้ลินุกซ์
วันนี้เรามาศึกษา วิธีติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ Ubuntu 9.04 สำหรับคนไม่เคยใช้ลินุกซ์ ซึ่งสามารถนำ
ไปประยุกต์ใช้กับเวอร์ชั่นอื่นๆด้วย
- เข้าเว็บ http://www.ubuntu.com/download/server/download จะได้ดังรูปที่ 1
รูปที่ 1
2. เลือกเวอร์ชั่นที่ต้องการ ดาวน์โหลดและคัดลอกลงแผ่นซีดีหรือ ดีวีดี
3. ตั้งไบออสให้บูตด้วยแผ่นซีดี
4. ใส่แผ่นซีดีในซีดีรอมไดรฟ์แล้วทำการบูตเครื่อง เพื่อติดตั้งเซิร์ฟเวอร์ Ubuntu 9.10
จะปรากฏหน้าจอดัง
รูปที่ 2 เลือก Install Ubuntu Server กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 3
รูปที่ 2
5. เลือกภาษาที่ติดตั้งเป็น English กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 4
รูปที่ 3
6. กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 5
รูปที่ 4
7. กด Enter ผ่านเลยหรือถ้าจะเปลี่ยนก็เลือก other ครับ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 6
รูปที่ 5
8. เป็นการ Detect Keyboarb layout กด Enter ผ่านเลยจะได้ไม่เสียเวลา
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 7
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 7
รูปที่ 6
9. เลือก keyboard เป็น USA กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 8
รูปที่ 7
10. keyboard layout: เลือก USA กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 9
รูปที่ 8
11. ระบบจะทำการ Detect Hardware รอสักครู่ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่10
รูปที่ 9
12. เลือก Primary network interface ซึ่งขึ้นอยู่จำนวนการ์ดแลนที่อยู่ในเครื่องครับ
โดยทั่วไปการ์ดแลนใบแรกจะเป็น eth0 เป็นการ์ดแลนเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต กด Enter
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่11ถ้าปรากฏหน้าจอให้เซ็ดอัพไอพี ก็เลือก DHCP
โดยทั่วไปการ์ดแลนใบแรกจะเป็น eth0 เป็นการ์ดแลนเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต กด Enter
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่11ถ้าปรากฏหน้าจอให้เซ็ดอัพไอพี ก็เลือก DHCP
รูปที่ 10
13. เราสามารถตั้งชื่อHostname ตามที่ต้องการครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 12
รูปที่ 11
14. เลือก Time Zone กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 13
รูปที่ 12
15. เริ่มเข้าสู่การ Format Hard disk จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 14
รูปที่ 13
ดึกแล้วมาต่อวันพรุ่งนี้นะครับ
รูปที่ 15
16. กำหนดให้แบ่ง Partition Hard disk เลือกตามระบบแนะนำ คือ Guided - use entire
disk and set up LVM
หากท่านเชี่ยวชาญสามารถกำหนด Partitin เองได้ครับ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 15
รูปที่ 14
17. ระบบก็จะแจ้งให้ทราบถึง Hard disk ในเครื่องของเรา กด Enter ผ่านไป
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 16
18. ระบบแจ้ง Hard disk และถามว่า จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ให้ตอบ Yes
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 17
รูปที่ 16จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 17
20. กำลังตรวจหา Partition ............ เมื่อเสร็จ จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 19
รูปที่ 18
21. ระบบแบ่ง Partition ให้เราโดยอัตโนมัติ และถามว่า จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่
ให้ตอบ Yes จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 20
รูปที่ 19ให้ตอบ Yes จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 20
22. กำลัง Format Hard disk ....................... รอสักครู่ เมื่อเสร็จก็จะติดตั้งระบบขั้นพื้นฐาน
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 21
จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 21
รูปที่ 20
23. ติดตั้งระบบพื้นฐาน.............. เมื่อเสร็จก็จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 22
รูปที่ 21
25. ใส่ชื่อ login ครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 24
รูปที่ 23
26. ป้อนรหัสผ่าน ครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 25
รูปที่ 24
27. ป้อนรหัสผ่านอีกครั้ง ครับ กด Enter จะปรากฏหน้าจอดังรูปที่ 26
รูปที่ 25
28. ระบบจะแจ้งว่ารหัสผ่านที่เราป้อนง่ายต่อการโดน Hack ครับ กด Enter จะปรากฏ
หน้าจอดังรูปที่ 27
หน้าจอดังรูปที่ 27
รูปที่ 26
29. ระบบจะถาม ให้ตั้งค่าความปลอดภัยให้กับ Home directory หรือไม่ ตอบ No ครับ
ศูนย์ลิงค์เพื่อนบ้าน
รวบรวมลิงค์ที่เป็นประโยชน์ครับ
1. ทิบและเทคนิคต่างๆจาก Linuxthai.org : เชิญคลิกที่นี่ครับ -> Tip & Technics
2. วิธีติดตั้ง Oracle Database 11g บน Linux (Part 1/2) :
ขั้นตอนที่ต้องเตรียมก่อน Install Software : เชิญคลิกที่นี่ครับ
3. การใช้งาน Remote Desktop บน Windows Server 2008 : เชิญคลิกที่นี่ครับ
4. พื้นฐานเครือข่าย Computer (Basic IP network) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
5. แหล่งรวมโปรแกรม Open Source : เชิญคลิกที่นี่ครับ
6. 10 โปรแกรม for Mac : เชิญคลิกที่นี่ครับ
7. วีดีโอการใช้ Mac : เชิญคลิกที่นี่ครับ
8. เริ่มทำเว็บไซต์ด้วย XAMPP : เชิญคลิกที่นี่ครับ
9. คู่มือโปรแกรม Open Source ต่างๆ เช่น OpenOffice : เชิญคลิกที่นี่ครับ
10. คู่มือการจัดการ Google App : เชิญคลิกที่นี่ครับ
11. ขั้นตอนการเปลี่ยน Drum ของ Printer : เชิญคลิกที่นี่ครับ
12. ขั้นตอนการเปลี่ยน Drum ของ Printer Brother : เชิญคลิกที่นี่ครับ
13. ระบบบาร์โค๊ด(Barcode System) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
14. รูแบบบาร์โค๊ด(Barcode ) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
15. ระบบการจัดการสโตร์(WMS ) : เชิญคลิกที่นี่ครับ
16. รีวิวระบบบาร์โค้ด : เชิญคลิกที่นี่ครับ
17. การแชร์ไฟล์บน Virtualbox ระหว่าง MAC กับ Windows : เชิญคลิกที่นี่ครับ
18. ความรู้เรื่อง Printer : เชิญคลิกที่นี่ครับ
19. ความรู้เรื่อง Label Printer : เชิญคลิกที่นี่ครับ
20. การตั้งเก็บไฟล์อัตโนมัติสำหรับโปรแกรม AutoCAD 2010 : เชิญคลิกที่นี่ครับ
21. วิธีการกำหนดค่า Outlook 2010 สำหรับ Gmail และบัญชี Google Apps : เชิญคลิกที่นี่ครับ
22. เทคนิคต่างๆสำหรับเครื่องเมค : เชิญคลิกที่นี่ครับ
23. การเซ็ต VLAN อย่างง่ายๆ : เชิญคลิกที่นี่ครับ
24. ความรู้เรื่อง VLAN : เชิญคลิกที่นี่ครับ
25. ความรู้เรื่อง VLAN Secnarion : เชิญคลิกที่นี่ครับ
26. ความรู้เรื่อง VLAN Trunk>>Infranstructure : เชิญคลิกที่นี่ครับ
27. ความรู้เรื่องการเซ็ต VLAN ของ HP ProCurve 2810 Switch: เชิญคลิกที่นี่ครับ
28. ความรู้เรื่องระบบเน็ตเวิกส์: เชิญคลิกที่นี่ครับ
การเข้าจัดการ ClearOS 5.x จากภายนอก
วันนี้เรามาดูการจัดการ ClearOS 5.x จากภายนอกกัน
เมื่อเราได้ติดตั้งเครื่อง Server ที่สำนักงานของลูกค้า หากเกิดปัญหาขึ้นมา เราสามารถตรวจสอบ
เบื้องต้นด้วยการตรวจสอบทางไกลหรือ Remote เข้าไปดูได้ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างรวดเร็ว
ซึ่งมีขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้
1. เรามาเซ็ตอัพ ClearOS 5.x เพื่อการรองรับการ Remote จากภายนอก
1.1 ล็อกอินเข้าระบบ ดังรูปที่ 1
รูปที่1
1.2 ไปแถบเมนู Network >Firewall > Incoming เพิ่มตามที่ต้องการ เช่นผมต้องการ
จัดการผ่านหน้าเว็บและ SSH
ผมก็พิมพ์ชื่อ princess ในช่อง NickName /Port
เลือก TCP
พิมพ์ 443
คลิกที่ปุ่ม Add
เราก็ได้แล้ว สำหรับที่จะเข้ามาจัดการจากภายนอก ดังรูปที่ 2 ส่วนที่เหลือก็ทำเช่นเดี่ยวกันครับ
รูปที่ 2
2.ทำ Forward Port และ Dynamic Host ตามบทความที่ผ่านมาครับ
3.ณ บัดนี้เราสามารถเข้าจัดการจากภายนอกได้แล้วครับ อันนี้ผมทำไว้เพื่อกันลืมครับ
ผมจะลำดับรูป ตามเมนูของ ClearOS 5.x ตั้งแต่ต้นจนจบ ซึ่งใช้งานจริงครับ
เชิญติดตามครับ
3.1 เข้าระบบ
3.4 DHCP
3.5 Local DNS Server
3.6 Firewall > Advance
เมื่อเราได้ติดตั้งเครื่อง Server ที่สำนักงานของลูกค้า หากเกิดปัญหาขึ้นมา เราสามารถตรวจสอบ
เบื้องต้นด้วยการตรวจสอบทางไกลหรือ Remote เข้าไปดูได้ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างรวดเร็ว
ซึ่งมีขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้
1. เรามาเซ็ตอัพ ClearOS 5.x เพื่อการรองรับการ Remote จากภายนอก
1.1 ล็อกอินเข้าระบบ ดังรูปที่ 1
1.2 ไปแถบเมนู Network >Firewall > Incoming เพิ่มตามที่ต้องการ เช่นผมต้องการ
จัดการผ่านหน้าเว็บและ SSH
ผมก็พิมพ์ชื่อ princess ในช่อง NickName /Port
เลือก TCP
พิมพ์ 443
คลิกที่ปุ่ม Add
เราก็ได้แล้ว สำหรับที่จะเข้ามาจัดการจากภายนอก ดังรูปที่ 2 ส่วนที่เหลือก็ทำเช่นเดี่ยวกันครับ
รูปที่ 2
2.ทำ Forward Port และ Dynamic Host ตามบทความที่ผ่านมาครับ
3.ณ บัดนี้เราสามารถเข้าจัดการจากภายนอกได้แล้วครับ อันนี้ผมทำไว้เพื่อกันลืมครับ
ผมจะลำดับรูป ตามเมนูของ ClearOS 5.x ตั้งแต่ต้นจนจบ ซึ่งใช้งานจริงครับ
เชิญติดตามครับ
3.1 เข้าระบบ
3.2 ค่าไอพีที่ตั้ง
3.3 Multiwan
3.5 Local DNS Server
3.6 Firewall > Advance
3.7 Firewall > Groups
3.8 Firewall > Incoming
3.9 Firewall > Outgoing
3.10 Firewall > Portfowarding
3.11 Firewall > Custom
3.12 Gateway > Bandwidth And Qos >Bandwidth
3.13 Protocal Filter > Protocal filter Configuration
3.14 Proxy and Filtering > Access Control
3.15 Web Proxy
3.16 Server> web > web server
3.17 Database > Mysql
จบขั้นตอนการคอนฟิกค่าต่างๆของ ClearOS 5.2 สามารถนำไปประยุกต์ให้ตรงกับงานของท่าน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)