การ Remote จากภายนอกเพื่อการเข้าจัดการ Smile Authentication

เมื่เราติดตั้งระบบ Smile Authentication Server เสร็จ ต้องการเข้าจัดการระบบต่างๆ จากภายนอก

สามารถดำเนินการดังนี้

1.เราไปสมัครเป็นสมาชิก ของ dyndns.org หรือ no-ip  และอื่นๆก็ได้

    1.1 ไปที่ website   www.dyndns.com ดังรูปที่ 1

รูปที่ 1

   1.2  เลือก Sign In >> Create an Account  ดังรูปที่ 2

รูปที่ 2


   1.3 ใส่ข้อมูล Username & Password และ Email ให้ครบแล้วเลือก I agree ….   

จากนั้น กด Create Account รูปที่3

รูปที่ 3



   1.4  หลังจากทำการสร้าง Account แล้ว ระบบจะทำการส่งเมล์เพื่อยืนยันการสมัครบริการไปยัง Email ที่ได้แจ้งไว้ รูปที่ 4
รูปที่ 4


   1.5  ยืนยันการสมัครบริการที่ Email 

           5.1 กรณีไม่พบ Email  ควรตรวจสอบที่กล่อง Spam ว่ามี Email ที่ส่งมาจาก website Dydns หรือไม่ 

           5.2 กรณีพบแล้ว ให้คลิก Link เพื่อยืนยันการสมัครบริการดังภาพ รูปที่ 5
   
รูปที่ 5

  1.6 ยืนยัน Password แล้วกด Confirm Account รูปที่ 6
รูปที่ 6


1.7  เลือก My Account เมื่อคลิกแล้วจะเปลี่ยนเป็น My Service จากนั้นให้เลือก Add Host Service

เพื่อสร้าง Hostname ดังรูปที่ 7
รูปที่ 7
1.8  การสร้าง Host 

       1.8.1 ให้ใส่ชื่อ Host ที่เราต้องการ และ Service Type ให้เลือก Host with IP address

       1.8.2 คลิกที่ Your Current location’s IP ......

       1.8.3 คลิก Add To Cart 

 ดังรูปที่ 8
รูปที่ 8


1.9  สามารถสร้างได้ 5 Host ในการสมัคร 1 Account Free  ดังรูปที่ 9
 รูปที่ 9


1.10  ทำการทดสอบโดย ใช้คำสั่ง Ping ไปยัง Host ที่สร้างขึ้น กรณี Reply แสดงว่าสามารถใช้งานได้แล้ว 

สามารถนำชื่อ Host นี้ไปใช้งานได้  เสร็จขั้นตอนการสมัคร Dyndns ครับ ดังรูปที่ 10


 ดังรูปที่ 10
                                                                                                          
                                                         Credit By:http://support2.truecorp.co.th/detail.aspx?document_id=322


2.การทำ Forward Port  ที่ Router ของเรา ลักษณะการทำคล้ายกันทุกยี่ห้อครับ ผมขอยกตัวอย่าง

ทำ Forward Port ของยี่ห้อ TP-Link  มีขั้นตอนดังต่อไปนี้


วิธีการทำ Forward port
2.1. พิมพ์ IP: 192.168.1.1 ซึ่งเป็นค่าปริยายของ TP-Link หรือ ยี่ห้ออื่นๆ 

จะได้ดังรูปที่ 1

                                                                                       รูปที่ 1
 
2.2. ไปคลิกที่
 Access Management   แล้วคลิกเลือกที่ DDNS จะได้ดังรูปที่ 2

                                                                                     รูปที่ 2
2.3. จากรูปที่ 2 ให้เราทำดังนี้


 2.3.1. คลิกเลือกที่  
Dynamic DNS เป็น  Activated ครับ

 2.3.2. เลือก
Service Provider  :www.dyndns.com  ที่เราลงทะเบียนไว้ ตามหัวข้อ 1 ครับ เช่น

ผมได้ลงทะเบียนกับ dyndns

ได้กำหนดค่าต่างๆดังนี้

 2.3.3. My Host Name : asae.dyndns.info  แล้วแต่ว่าชื่อและโฮสต์ที่ว่างครับ

 2.3.4. E-mail address ตามที่เราลงทะเบียนครับ เช่นผมใช้ gmail 

 2.3.5. Username และ Password ตามที่เราลงทะเบียนครับ

 2.3.6. คลิกที่ปุ่ม  Save

2.4. ต่อไปไปคลิกที่ Avanced Setup  คลิกเลือก  NAT คลิกเลือก  Virtual Circuit จะได้ดังรูปที่ 3

                                                          
                                                  รูปที่ 3
 
2.5. คลิกที่
Virtual Server จะได้ดังรูปที่ 4

                                                                                                          รูปที่ 4
2.6. จากรูปที่ 4 ให้กำหนดค่าต่างๆดังนี้

 2.6.1. Rule Index : เลือก 1 ถ้ามีการใช้แล้วก็เลือกลำดับถัดไปครับ


 2.6.2. Application: พิมพ์ได้เลย เช่นผมจะดูหน้าจัดการระบบของ Smile Authentication จาก

ภายนอก ผมใส่ชื่อ Smile ครับ


 2.6.3. Protocal : เลือก All ครับ


 2.6.4. Start port และ End port ใส่เหมือนกันครับ คือ 81 อย่าใช้ 80 เพราะจะชนกับค่าปริยายครับ 

ทำให้ไม่สามารถใช้งาน


 2.6.5. Local IP Address:เป็นค่าไอพีของการ์ดแลนของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ต่อกับ Router  เช่นผมได้ตั้ง

ค่าเป็น 192.168.1.2


 2.6.6. คลิกที่ปุ่ม Save เป็นอันเสร็จการทำForward port ครับ

3.คอนฟิก ddclient ที่ Server ของเราครับ

  3.1 ล็อกอินเข้า Server เราด้วย  Putty ครับ ขอยกของผมเป็นตัวอย่าง

3.1.1 ไปดาวน์โหลด ddclient-3.8.0.tar.gz หรือ เวอร์ชั่นอื่น ใช้คำสั่ง
       # wget http://downloads.sourceforge.net/ddclient/ddclient-3.8.0.tar.gz




3.1.2 แตกไฟล์ ใช้คำสั่ง
       # tar zxvf ddclient-3.8.0.tar.gz




3.1.3 เข้าไปในไดเรกทอรี ddclient ใช้คำสั่ง
       # cd ddclient* 


3.1.4 คัดลอกไฟล์ ddclient ไปที่ไดเรกทอรี /usr/sbin ใช้คำสั่ง
       # cp ddclient /usr/sbin




3.1.5 สร้างไดเรกทอรีใน /etc/ddclient ใช้คำสั่ง
       # mkdir /etc/ddclient


3.2 ต่อไปก็มาเซ็ต การ Update client  เพื่อความรวดเร็ว มีขั้นตอนดังนี้

   3.2.1 ล็อกอินเข้าเว็บ www.dyndns.com ทีเราสมัครตามหัวข้อ 1

   3.2.2 ไปที่ Support >DNS Tools >Update Client Configuration > จะได้ไฟล์

คอนฟิก เราก็คัดลอกไฟล์นี้

   3.2.3 เปิดไฟล์ ddclient.conf ใช้คำสั่ง
            # nano /etc/ddclient/ddclient.conf

   3.2.4 นำไฟล์ที่คัดลอกจากข้อ 3.2.2 มาวาง ตรง login และ Password = พิมพ์ username

& password ของเรา และตรง Dynamic DNS host ก็พิมพ์ ที่เราได้สร้างไว้ตามหัวข้อ 1 ครับ

แล้ว Save
             
   3.2.5  รีสตาร์ท ddclient  ใช้คำสั่ง

            service ddclient restart หรือ /etc/init.d/ddclient restart

เราก็สามารถใช้งานได้แล้ว

   Credit By:
    http://www.clearfoundation.com/component/option,com_kunena/Itemid,232/catid,19/func,view/id,16724/

4.การเข้าระบบครับ เชิญติดตามครับ

การ Remote จากข้างนอกของ Clearos5.2+Smile Authen

4.1.พิมพ์ url ที่เราสมัครกับ dyndns.com หรือ no-ip  เช่น ลงทะเบียนกับ 

dyndns.org ชื่อ https://asae.dyndns.info ก็จะได้แสดงดังรูปที่ 1

                                                                                    รูปที่ 1
4.1.1.          คลิกที่ I Understand the Risks

4.1.2.          คลิกที่ปุ่ม Add Exception

4.1.3.          จะมี pop up ดังรูปที่ 2

                                                                                  รูปที่ 2
4.1.4. คลิกที่ปุ่ม Confirm Security Exception

4.1.5. จะเข้าหน้าจัดการดังรูปที่ 3

                                                                                รูปที่ 3
4.1.6. ป้อนข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่านที่เราใส่ตอนติดตั้ง ดังรูปที่ 4

                                                                                   รูปที่ 4
4.1.7..เข้าระบบหน้าการจัดการดังรูปที่ 5

                                                                                 รูปที่ 5
4.1.8. เราสามารถเข้าจัดการระบบต่างๆ ตามต้องการต่อไป ดังรูปที่6

                                                                            รูปที่ 6
ตัวอย่างหน้าจอ รายชื่อผู้ที่กำลังใช้งานดังรูปที่ 7

                                                                                       รูปที่ 7
By: Waheng.H
30/10/2011
Credit by: Maya_Java ,
http://www.linuxthai.org












การ Remote จากภายนอกเพื่อการเข้าจัดการ Smile Authentication

เมื่เราติดตั้งระบบ Smile Authentication Server เสร็จ ต้องการเข้าจัดการระบบต่างๆ จากภายนอก

สามารถดำเนินการดังนี้

1.เราไปสมัครเป็นสมาชิก ของ dyndns.org หรือ no-ip  และอื่นๆก็ได้

    1.1 ไปที่ website   www.dyndns.com ดังรูปที่ 1

รูปที่ 1

   1.2  เลือก Sign In >> Create an Account  ดังรูปที่ 2

รูปที่ 2


   1.3 ใส่ข้อมูล Username & Password และ Email ให้ครบแล้วเลือก I agree ….   

จากนั้น กด Create Account รูปที่3

รูปที่ 3



   1.4  หลังจากทำการสร้าง Account แล้ว ระบบจะทำการส่งเมล์เพื่อยืนยันการสมัครบริการไปยัง Email ที่ได้แจ้งไว้ รูปที่ 4
รูปที่ 4


   1.5  ยืนยันการสมัครบริการที่ Email 

           5.1 กรณีไม่พบ Email  ควรตรวจสอบที่กล่อง Spam ว่ามี Email ที่ส่งมาจาก website Dydns หรือไม่ 

           5.2 กรณีพบแล้ว ให้คลิก Link เพื่อยืนยันการสมัครบริการดังภาพ รูปที่ 5
   
รูปที่ 5

  1.6 ยืนยัน Password แล้วกด Confirm Account รูปที่ 6
รูปที่ 6


1.7  เลือก My Account เมื่อคลิกแล้วจะเปลี่ยนเป็น My Service จากนั้นให้เลือก Add Host Service

เพื่อสร้าง Hostname ดังรูปที่ 7
รูปที่ 7
1.8  การสร้าง Host 

       1.8.1 ให้ใส่ชื่อ Host ที่เราต้องการ และ Service Type ให้เลือก Host with IP address

       1.8.2 คลิกที่ Your Current location’s IP ......

       1.8.3 คลิก Add To Cart 

 ดังรูปที่ 8
รูปที่ 8


1.9  สามารถสร้างได้ 5 Host ในการสมัคร 1 Account Free  ดังรูปที่ 9
 รูปที่ 9


1.10  ทำการทดสอบโดย ใช้คำสั่ง Ping ไปยัง Host ที่สร้างขึ้น กรณี Reply แสดงว่าสามารถใช้งานได้แล้ว 

สามารถนำชื่อ Host นี้ไปใช้งานได้  เสร็จขั้นตอนการสมัคร Dyndns ครับ ดังรูปที่ 10


 ดังรูปที่ 10
                                                                                                          
                                                         Credit By:http://support2.truecorp.co.th/detail.aspx?document_id=322


2.การทำ Forward Port  ที่ Router ของเรา ลักษณะการทำคล้ายกันทุกยี่ห้อครับ ผมขอยกตัวอย่าง

ทำ Forward Port ของยี่ห้อ TP-Link  มีขั้นตอนดังต่อไปนี้


วิธีการทำ Forward port
2.1. พิมพ์ IP: 192.168.1.1 ซึ่งเป็นค่าปริยายของ TP-Link หรือ ยี่ห้ออื่นๆ 

จะได้ดังรูปที่ 1

                                                                                       รูปที่ 1
 
2.2. ไปคลิกที่
 Access Management   แล้วคลิกเลือกที่ DDNS จะได้ดังรูปที่ 2

                                                                                     รูปที่ 2
2.3. จากรูปที่ 2 ให้เราทำดังนี้


 2.3.1. คลิกเลือกที่  
Dynamic DNS เป็น  Activated ครับ

 2.3.2. เลือก
Service Provider  :www.dyndns.com  ที่เราลงทะเบียนไว้ ตามหัวข้อ 1 ครับ เช่น

ผมได้ลงทะเบียนกับ dyndns

ได้กำหนดค่าต่างๆดังนี้

 2.3.3. My Host Name : asae.dyndns.info  แล้วแต่ว่าชื่อและโฮสต์ที่ว่างครับ

 2.3.4. E-mail address ตามที่เราลงทะเบียนครับ เช่นผมใช้ gmail 

 2.3.5. Username และ Password ตามที่เราลงทะเบียนครับ

 2.3.6. คลิกที่ปุ่ม  Save

2.4. ต่อไปไปคลิกที่ Avanced Setup  คลิกเลือก  NAT คลิกเลือก  Virtual Circuit จะได้ดังรูปที่ 3

                                                          
                                                  รูปที่ 3
 
2.5. คลิกที่
Virtual Server จะได้ดังรูปที่ 4

                                                                                                          รูปที่ 4
2.6. จากรูปที่ 4 ให้กำหนดค่าต่างๆดังนี้

 2.6.1. Rule Index : เลือก 1 ถ้ามีการใช้แล้วก็เลือกลำดับถัดไปครับ


 2.6.2. Application: พิมพ์ได้เลย เช่นผมจะดูหน้าจัดการระบบของ Smile Authentication จาก

ภายนอก ผมใส่ชื่อ Smile ครับ


 2.6.3. Protocal : เลือก All ครับ


 2.6.4. Start port และ End port ใส่เหมือนกันครับ คือ 81 อย่าใช้ 80 เพราะจะชนกับค่าปริยายครับ 

ทำให้ไม่สามารถใช้งาน


 2.6.5. Local IP Address:เป็นค่าไอพีของการ์ดแลนของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ต่อกับ Router  เช่นผมได้ตั้ง

ค่าเป็น 192.168.1.2


 2.6.6. คลิกที่ปุ่ม Save เป็นอันเสร็จการทำForward port ครับ

3.คอนฟิก ddclient ที่ Server ของเราครับ

  3.1 ล็อกอินเข้า Server เราด้วย  Putty ครับ ขอยกของผมเป็นตัวอย่าง

3.1.1 ไปดาวน์โหลด ddclient-3.8.0.tar.gz หรือ เวอร์ชั่นอื่น ใช้คำสั่ง
       # wget http://downloads.sourceforge.net/ddclient/ddclient-3.8.0.tar.gz




3.1.2 แตกไฟล์ ใช้คำสั่ง
       # tar zxvf ddclient-3.8.0.tar.gz




3.1.3 เข้าไปในไดเรกทอรี ddclient ใช้คำสั่ง
       # cd ddclient* 


3.1.4 คัดลอกไฟล์ ddclient ไปที่ไดเรกทอรี /usr/sbin ใช้คำสั่ง
       # cp ddclient /usr/sbin




3.1.5 สร้างไดเรกทอรีใน /etc/ddclient ใช้คำสั่ง
       # mkdir /etc/ddclient


3.2 ต่อไปก็มาเซ็ต การ Update client  เพื่อความรวดเร็ว มีขั้นตอนดังนี้

   3.2.1 ล็อกอินเข้าเว็บ www.dyndns.com ทีเราสมัครตามหัวข้อ 1

   3.2.2 ไปที่ Support >DNS Tools >Update Client Configuration > จะได้ไฟล์

คอนฟิก เราก็คัดลอกไฟล์นี้

   3.2.3 เปิดไฟล์ ddclient.conf ใช้คำสั่ง
            # nano /etc/ddclient/ddclient.conf

   3.2.4 นำไฟล์ที่คัดลอกจากข้อ 3.2.2 มาวาง ตรง login และ Password = พิมพ์ username

& password ของเรา และตรง Dynamic DNS host ก็พิมพ์ ที่เราได้สร้างไว้ตามหัวข้อ 1 ครับ

แล้ว Save
             
   3.2.5  รีสตาร์ท ddclient  ใช้คำสั่ง

            service ddclient restart หรือ /etc/init.d/ddclient restart

เราก็สามารถใช้งานได้แล้ว

   Credit By:
    http://www.clearfoundation.com/component/option,com_kunena/Itemid,232/catid,19/func,view/id,16724/

4.การเข้าระบบครับ เชิญติดตามครับ

การ Remote จากข้างนอกของ Clearos5.2+Smile Authen

4.1.พิมพ์ url ที่เราสมัครกับ dyndns.com หรือ no-ip  เช่น ลงทะเบียนกับ 

dyndns.org ชื่อ https://asae.dyndns.info ก็จะได้แสดงดังรูปที่ 1

                                                                                    รูปที่ 1
4.1.1.          คลิกที่ I Understand the Risks

4.1.2.          คลิกที่ปุ่ม Add Exception

4.1.3.          จะมี pop up ดังรูปที่ 2

                                                                                  รูปที่ 2
4.1.4. คลิกที่ปุ่ม Confirm Security Exception

4.1.5. จะเข้าหน้าจัดการดังรูปที่ 3

                                                                                รูปที่ 3
4.1.6. ป้อนข้อมูลผู้ใช้และรหัสผ่านที่เราใส่ตอนติดตั้ง ดังรูปที่ 4

                                                                                   รูปที่ 4
4.1.7..เข้าระบบหน้าการจัดการดังรูปที่ 5

                                                                                 รูปที่ 5
4.1.8. เราสามารถเข้าจัดการระบบต่างๆ ตามต้องการต่อไป ดังรูปที่6

                                                                            รูปที่ 6
ตัวอย่างหน้าจอ รายชื่อผู้ที่กำลังใช้งานดังรูปที่ 7

                                                                                       รูปที่ 7
By: Waheng.H
30/10/2011
Credit by: Maya_Java ,
http://www.linuxthai.org